GIBBONOLOGY
GIBBONOLOGY
In Thailand it is common to see people begging tourists to take photos with wild animals such as gibbon and elephant.
Not many people realize that in order to get the baby gibbon to take a cute photograph with you to be posted on your social network accounts, the mother will be shot and the baby will be taken away from the forest into the arms or strangers from all over the world.
I have been working as a volunteer to transport the ‘rehabed’ gibbons and theirs family from Phuket Island to be released back into the forest in Ban Bang Jum Pee in Chiang mai, Thailand over the past two years.
So far we had relocated over 21 animals , 16 were successfully released back into the wild and two babies were born in the forest. That is not a miracle, it was the dedication.
#GIBBONOGRAPHY is a fashion photo series as a result of a collaboration between me and a young 14 years old intern , Pam Narada Disayabut who was going through an intensive training during a reality show “ THE WORKSHOP” to learn how to create a social commentary fashion photography to raise awareness on a campaign.
I used a baby stuffed toy-gibbon from the Gibbon Rehabilitation Project by the Wild Animal Rescue Foundation of Thailand as a gimmick to bridge between the world of fashion with the world of a 14 years old for Pam to understand and realize how serious is the problem. Not only to be able to ‘speak’ the same language to a 14 years old intern, I wanted the message to go across all kids who will be the future of Animal and Nature Conservation in Thailand.
Gibbons are like human
They have brain, feelings and an ability to collect memories.
We should stop supporting this cruel tourist activity by taking souvenir photos for your memories which is causing suffering for these poor wild animals for life.
These are simplest ways to help the animals.
1.Say “NO” to photography with wild animals on the streets or in the tourist attractions.
2.Do not buy gibbons, or products derived from gibbons or any other wild animals.
3. Support the conservation of the rainforest to create more home for the animals.
These are images from our Gibbon Rehabilitation Project and transporting them in the plane from Phuket to Chiang Mai
https://www.facebook.com/tpotisit/media_set?set=a.10152005925166224.1073741853.626336223&type=3
For more information on how you can help and our various conseration projects, you may visit ร http://www.gibbonproject.org/support-us/ or http://www.theflyingscouts.com
ภาพคนอุ้มชะนีเร่ร่อนตามแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญต่างๆของไทยกวักมือเรี่ยไรเรียกนักท่องเที่ยวเพื่อถ่ายภาพที่ระลึกเป็นภาพที่เราชินตาตั้งแต่เด็กๆ แต่จะมีสักกี่คนที่จะรู้ว่าเบื้องหลังการนำชะนีที่น่าตาน่ารักน่าเอ็นดูออกมาจากป่านั้น แม่ชะนีจะถูกยิงตายเพื่อที่นักล่าจะได้จับลูกชะนีมาเรี่ยไรเงินจากนักท่องเที่ยวได้ง่ายๆ จนมันน่าหดหู่ยิ่งนัก
ฉันได้ทำงานเป็นอาสาสมัครร่วมกับมูลนิธิช่วยเหลือสัตว์ป่าแห่งประเทศไทยทำการขนย้ายชะนีที่ผ่านการฟื้นฟูและพร้อมที่จะถูกนำคืนสู่ป่า โดยการเคลื่อนย้ายพวกพวกด้วยเครื่องบินเล็กตลอดเวลาสองปีที่ผ่านมา ซึ่งเราได้เคลื่อนย้ายชะนีกว่า 21 ตัว ในการบินจากจังหวัดภูเก็ตไปยังบ้านบางจำปีในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งได้ทำการปล่อยชะนีคืนสู่ไปไปแล้วกว่า 16 ตัวและมีชะนีเกิดใหม่หลังการปล่อยถึง 2 ตัว
ภาพถ่ายชุด #GIBBONOGRAPHY เป็นภาพถ่ายสะท้อนปัญหาการนำสัตว์ป่าออกมาเร่ร่อนเพื่อธุรกิจการท่องเที่ยว ที่ฉันได้ร่วมงานกับน้องแปม สาวน้อยมากความสามารถอายุ 14 ปีที่ต้องการมาเรียนรู้การเป็นช่างภาพอาชีพ สร้างสรรค์งานนี้ร่วมกัน โดยใช้ตุ้กตาชะนีน้อยจากโครงการคืนชะนีสู่ป่าโดยมูลนิธิช่วยเหลือสัตว์ป่าแห่งประเทศไทยมาเป็นสื่อกลางเชื่อต่อระหว่างโลกแห่งแฟชั่นและการอนุรักษ์ของฉันกับโลกของเด็กๆ เพื่อให้พวกเขาตระหนักและเข้าใจถึงความสำคัญของการอนุรักษ์สัตว์ป่าในประเทศไทยมากขึ้น
โดยภาพเซ็ทนี้ได้ถูกสร้างสรรค์ขึ้นในช่วงระหว่างการถ่ายทำรายการเรียลลิตี้เพื่อสอนภาษาอังกฤษในสายอาชีพให้แก่น้องๆและผู้ที่สนใจในการใช้ภาษาอังกฤษอย่าง THE WORKSHOP ซึ่งเป็นความต้องการของฉันที่จะผลิตงานร่วมกับน้องแปมซึ่งเป็นอนาคตและความหวังในการอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ป่าในไทย โดยอยากห้งานชุดนี้สามารถนำไปใช้เป็นแคมเปญรณรงค์การหยุดสนับสนุนผู้ที่นำสัตว์ป่าออกมาเพื่อใช้แสวงหาผลประโยชน์โดยเฉพาะกับนักท่องเที่ยวได้จริง
ชะนีก็เหมือนกับมนุษย์ มีสมอง มีความรู้สึก และมีความสามารถในการเก็บความทรงจำ เราควรที่จะเลิกการถ่ายรูปคู่กับชะนีเพื่อแค่ของที่ระลึกของความทรงจำอันแสนสั้นของเราที่จะทำให้พวกมันมีทรมานจากการเป็นเหยื่อของนักท่องเที่ยวไปตลอดชีวิต
สำหรับท่านที่ต้องการช่วยเหลือหรือสนับสนุนโครงการการคืนชะนีสู่ป่าสามารถทำได้อย่างง่ายๆ
1.ไม่ถ่ายรูปกับชะนีหรือสัตว์ป่าที่ถูกจับมาเพื่อการท่องเที่ยว
2.ไม่ซื้อสินค้าที่ถูกแปรรูปหรือผลิตจากสัตว์ป่า
3.สนับสนุนและช่วยกันดูแลรักษาป่าไม้เพื่อเป็นบ้านให้กับชะนีและสัตว์ป่า
ภาพเบื้องหลังการเคลื่อนย้ายและฟื้นฟูชะนีก่อนคืนสู่ป่าสามารถชมได้ที่
https://www.facebook.com/tpotisit/media_set?set=a.10152005925166224.1073741853.626336223&type=3
รายละเอียดเพิ่มเติมในการเป็นอาสาสมัครหรือการบริจาคเพื่อช่วยเหลือการคืนชะนีสู่ป่าสามารถทำได้ที่ http://www.gibbonproject.org/support-us/ หรือ http://www.theflyingscouts.com
ขอขอบคุณการสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการเพื่อการศึกษาพื้นฐาน และรายการ eng24 by OBEC ที่ได้เปิดโอกาสทำงานชิ้นนี้ครับ
No Animals On the Streets, More Animals in the Wild
#GIBBONOGRAPHY
Photographed by tom | potisit and Narada Disaybut
Model | Daria Luci from Bacca Model Management and Zac from Bass Model Management
Honoured Stylist | Olga Volodina
HUA | Irina Mysova
Lighting Specialist | Songkrit Ontana
Photographer Assistant | Ivan Ukhov
#GIBBONOGRAPHY
Photographed by tom | potisit and Narada Disaybut
Model | Daria Luci from Bacca Model Management and Zac from Bass Model Management
Honoured Stylist | Olga Volodina
HUA | Irina Mysova
Lighting Specialist | Songkrit Ontana
Photographer Assistant | Ivan Ukhov