THE MIDDLE PATH
THE MIDDLE PATH
Tom Potisit’s photo series 'The Middle Path' is a blend of Buddhist beliefs in Thailand with the art of imagination using ropes, known as 'Shibari,' which originated in Japan and is reflected in various art forms worldwide. The photographs in this collection uniquely merge Buddhist values and contexts in Thailand, creating a synthesis of aesthetics and philosophy that captures the eye and prompts questions about emerging beliefs. It's an exploration of delicate collaboration between physical restraint, mindfulness, and release.
Each photograph captures a moment of profound thought and contemplation. The images depict individuals entangled in intricate ropes, with beautifully arranged symbolic objects in a simulated space. The meticulously tied ropes are not just physical representations, but they also symbolize the interconnectedness of all living beings and the cyclical nature of existence. The blending of the ropes and Buddhist beliefs within these images aims to provoke deep reflection about the essence of order, acceptance, and transcendence. The contrasting elements of confinement and freedom are delicately conveyed, inviting the viewer to explore the harmony between the body, spirit, and objects. The subjects in the pictures have peaceful expressions, with closed eyes in a serene state, suggesting a profound connection with their bodies, emotions, and surrounding context. With mindfulness, the impermanence of the body pushes the boundaries of expression in the interpretation of the image.
Another aspect of gender diversity in Thai Buddhism is the existence of gender-diverse individuals in the monk community. Thailand has been somewhat accepting of this for a while. The artist was once ordained as a monk, filled with numerous questions about the clergy under the umbrella of Buddhism. As time passed, being a novice led to seeking the truth. During that time, the group within the temple taught the principles of Buddhism. However, the artist chose to study independently from the temple's library, realizing that humans are just humans, always shaped by their context, state, and emotions. Some may choose the monastic life and find temples specifically accommodating their development and increasingly modern interpretations of the teachings. Overall, while Thai Buddhism primarily focuses on males, there is room for gender diversity within its scope, including opportunities for women and gender-diverse individuals to become monks as human beings choosing their path to enlightenment.
The photographic series "The Middle Path" presents images imbued with ideas revealing the intersection of human vulnerabilities and religious context. They serve as evidence of critiques on the reality of spaces and societal testament to Buddhist beliefs intertwined with imagination and gender diversity. This leads to the context of analyzing individual and societal roles within Thai society.
ชุดผลงานภาพถ่าย The Middle Path ของ ทอม โพธิสิทธิ์ เป็นผลงานที่ผสมผสานความเชื่อทางพุทธศาสนาในประเทศไทยกับศิลปะแห่งการพันธนาการด้วยเชือกหรือที่เรียกว่า "ชิบาริ" มีต้นกำเนิดในญี่ปุ่นและได้รับการสะท้อนผ่านงานศิลปะต่างๆ ทั่วโลก ภาพถ่ายในคอลเลกชั่นนี้เป็นการผสมผสานคติและบริบททางศาสนาพุทธในไทยอย่างมีเอกลักษณ์ ทำให้เกิดการสังเคราะห์สุนทรียศาสตร์และปรัชญาที่ดึงดูดสายตาและเกิดการตั้งคำถามถึงความเชื่อที่เกิดขึ้น เป็นการสำรวจภาพของการทำงานร่วมกันที่ละเอียดอ่อนระหว่างการยับยั้งชั่งใจทางร่างกาย สติ และการปลดปล่อย
ภาพถ่ายแต่ละภาพบันทึกช่วงเวลาแห่งความคิดและครุ่นคิดอย่างลึกซึ้ง โดยมีภาพบุคคลที่กำลังพันธนาการด้วยเชือกอันซับซ้อน วัตถุสัญญะที่ถูกจัดวางอย่างสวยงามในพื้นที่จำลอง เชือกที่มัดอย่างพิถีพิถัน ไม่เพียงแต่เป็นเครื่องพันธนาการทางกายภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นตัวแทนเชิงสัญญะของความเชื่อมโยงระหว่างกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดและธรรมชาติของการดำรงอยู่ที่เป็นวัฏจักร การผสมผสานระหว่างการพันธนาการด้วยเชือกและความเชื่อทางพุทธศาสนาภายในภาพเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำให้เกิดการไตร่ตรองอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับแก่นเรื่องของกฏระเบียบ การยอมจำนน และการอยู่เหนือธรรมชาติ องค์ประกอบที่ขัดแย้งกันของการจำกัดและเสรี ที่ได้รับการถ่ายทอดออกมาอย่างละเอียดอ่อน เชื้อเชิญให้ผู้ชมสำรวจ การสานความกลมกลืนระหว่างร่างกาย จิตวิญญาณและวัตถุเข้าด้วยกัน บุคคลในภาพแสดงสีหน้าสงบ หลับตาในสภาวะสงบนิ่ง บ่งบอกถึงความเชื่อมโยงอย่างลึกซึ้งกับร่างกาย อารมณ์ และบริบทโดยรอบ ด้วยสติ ความไม่เที่ยงของร่างกาย ได้ผลักดันขอบเขตของการแสดงออกในการอ่านมุมมองของภาพ
อีกแง่มุมหนึ่งของความหลากหลายทางเพศในศาสนาพุทธของไทยคือการมีอยู่ของผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศในชุมชนสงฆ์ ซึ่งประเทศไทยมีการยอมรับมาในระยะหนึ่ง โดยศิลปินได้มีประสบการณ์ร่วมในบริบทนี้ ซึ่งครั้งหนึ่งศิลปินได้บวชพระซึ่งมีแต่คำถามมากมายในใจที่ต่อสงฆ์ผู้อยู่ใต้ร่มศาสดาของพุทธศาสนา เวลาผ่านพ้นสถานะเป็นบัณเฑาะว์นำพาให้ตามหาความจริง ศิลปินในฐานะของสงฆ์ตอนนั้นกลุ่มผู้อยู่ภายใต้ศาสนสถานได้สอนหลักคำสอนของพุทธสาสนา แต่ศิลปินเลือกที่จะศึกษาด้วยตนเองจากหอสมุดวัด ทำให้ได้รู้ว่ามนุษย์ก็ย่อมเป็นมนุษย์อยู่ จึงยังเป็นอยู่ตามบริบท สภาวะ และอารมณ์ บางคนอาจเลือกที่จะเข้าสู่ชีวิตสงฆ์และมีวัดที่รองรับโดยเฉพาะเพื่อการพัฒนาและสืบสานหลักธรรมคำสอนโดยมีความร่วมสมัยมากยิ่งขึ้น โดยรวมแล้วแม้ว่าศาสนาพุทธของไทยจะให้ความสำคัญกับเพศชายเป็นหลัก แต่ก็มีโอกาสสำหรับความหลากหลายทางเพศภายในพื้นที่ของศาสนา รวมถึงสำหรับผู้หญิงและผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ สำหรับการเป็นสงฆ์ในฐานะบุคคลก็เป็นมนุษย์คนหนึ่งที่ได้เลือกทางของตนสู่หนทางพุทธะ
ผลงานภาพถ่ายชุด The Middle Path นำเสนอภาพที่แฝงด้วยข้อคิดที่ทำให้เห็นจุดตัดของความเปราะบางของมนุษย์และบริบททางความเชื่อ ซึ่งทำหน้าที่เป็นข้อพิสูจน์ของการวิจารณ์ถึงความเป็นจริงของพื้นที่ และเป็นเครื่องพิสูจน์สังคมถึงความเชื่อทางพุทธศาสนาที่มีบริบทร่วมกับการพันธนาการและความหลากหลายทางเพศ เพื่อนำไปสู่บริบทของการวิเคราะห์บทบาทของบุคคลและพื้นที่ในสังคมไทย
THE MIDDLE PATH
Tom Potisit’s photo series 'The Middle Path' is a blend of Buddhist beliefs in Thailand with the art of imagination using ropes, known as 'Shibari,' which originated in Japan and is reflected in various art forms worldwide. The photographs in this collection uniquely merge Buddhist values and contexts in Thailand, creating a synthesis of aesthetics and philosophy that captures the eye and prompts questions about emerging beliefs. It's an exploration of delicate collaboration between physical restraint, mindfulness, and release.
Each photograph captures a moment of profound thought and contemplation. The images depict individuals entangled in intricate ropes, with beautifully arranged symbolic objects in a simulated space. The meticulously tied ropes are not just physical representations, but they also symbolize the interconnectedness of all living beings and the cyclical nature of existence. The blending of the ropes and Buddhist beliefs within these images aims to provoke deep reflection about the essence of order, acceptance, and transcendence. The contrasting elements of confinement and freedom are delicately conveyed, inviting the viewer to explore the harmony between the body, spirit, and objects. The subjects in the pictures have peaceful expressions, with closed eyes in a serene state, suggesting a profound connection with their bodies, emotions, and surrounding context. With mindfulness, the impermanence of the body pushes the boundaries of expression in the interpretation of the image.
Another aspect of gender diversity in Thai Buddhism is the existence of gender-diverse individuals in the monk community. Thailand has been somewhat accepting of this for a while. The artist was once ordained as a monk, filled with numerous questions about the clergy under the umbrella of Buddhism. As time passed, being a novice led to seeking the truth. During that time, the group within the temple taught the principles of Buddhism. However, the artist chose to study independently from the temple's library, realizing that humans are just humans, always shaped by their context, state, and emotions. Some may choose the monastic life and find temples specifically accommodating their development and increasingly modern interpretations of the teachings. Overall, while Thai Buddhism primarily focuses on males, there is room for gender diversity within its scope, including opportunities for women and gender-diverse individuals to become monks as human beings choosing their path to enlightenment.
The photographic series "The Middle Path" presents images imbued with ideas revealing the intersection of human vulnerabilities and religious context. They serve as evidence of critiques on the reality of spaces and societal testament to Buddhist beliefs intertwined with imagination and gender diversity. This leads to the context of analyzing individual and societal roles within Thai society.
ชุดผลงานภาพถ่าย The Middle Path ของ ทอม โพธิสิทธิ์ เป็นผลงานที่ผสมผสานความเชื่อทางพุทธศาสนาในประเทศไทยกับศิลปะแห่งการพันธนาการด้วยเชือกหรือที่เรียกว่า "ชิบาริ" มีต้นกำเนิดในญี่ปุ่นและได้รับการสะท้อนผ่านงานศิลปะต่างๆ ทั่วโลก ภาพถ่ายในคอลเลกชั่นนี้เป็นการผสมผสานคติและบริบททางศาสนาพุทธในไทยอย่างมีเอกลักษณ์ ทำให้เกิดการสังเคราะห์สุนทรียศาสตร์และปรัชญาที่ดึงดูดสายตาและเกิดการตั้งคำถามถึงความเชื่อที่เกิดขึ้น เป็นการสำรวจภาพของการทำงานร่วมกันที่ละเอียดอ่อนระหว่างการยับยั้งชั่งใจทางร่างกาย สติ และการปลดปล่อย
ภาพถ่ายแต่ละภาพบันทึกช่วงเวลาแห่งความคิดและครุ่นคิดอย่างลึกซึ้ง โดยมีภาพบุคคลที่กำลังพันธนาการด้วยเชือกอันซับซ้อน วัตถุสัญญะที่ถูกจัดวางอย่างสวยงามในพื้นที่จำลอง เชือกที่มัดอย่างพิถีพิถัน ไม่เพียงแต่เป็นเครื่องพันธนาการทางกายภาพเท่านั้น แต่ยังเป็นตัวแทนเชิงสัญญะของความเชื่อมโยงระหว่างกันของสิ่งมีชีวิตทั้งหมดและธรรมชาติของการดำรงอยู่ที่เป็นวัฏจักร การผสมผสานระหว่างการพันธนาการด้วยเชือกและความเชื่อทางพุทธศาสนาภายในภาพเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทำให้เกิดการไตร่ตรองอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับแก่นเรื่องของกฏระเบียบ การยอมจำนน และการอยู่เหนือธรรมชาติ องค์ประกอบที่ขัดแย้งกันของการจำกัดและเสรี ที่ได้รับการถ่ายทอดออกมาอย่างละเอียดอ่อน เชื้อเชิญให้ผู้ชมสำรวจ การสานความกลมกลืนระหว่างร่างกาย จิตวิญญาณและวัตถุเข้าด้วยกัน บุคคลในภาพแสดงสีหน้าสงบ หลับตาในสภาวะสงบนิ่ง บ่งบอกถึงความเชื่อมโยงอย่างลึกซึ้งกับร่างกาย อารมณ์ และบริบทโดยรอบ ด้วยสติ ความไม่เที่ยงของร่างกาย ได้ผลักดันขอบเขตของการแสดงออกในการอ่านมุมมองของภาพ
อีกแง่มุมหนึ่งของความหลากหลายทางเพศในศาสนาพุทธของไทยคือการมีอยู่ของผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศในชุมชนสงฆ์ ซึ่งประเทศไทยมีการยอมรับมาในระยะหนึ่ง โดยศิลปินได้มีประสบการณ์ร่วมในบริบทนี้ ซึ่งครั้งหนึ่งศิลปินได้บวชพระซึ่งมีแต่คำถามมากมายในใจที่ต่อสงฆ์ผู้อยู่ใต้ร่มศาสดาของพุทธศาสนา เวลาผ่านพ้นสถานะเป็นบัณเฑาะว์นำพาให้ตามหาความจริง ศิลปินในฐานะของสงฆ์ตอนนั้นกลุ่มผู้อยู่ภายใต้ศาสนสถานได้สอนหลักคำสอนของพุทธสาสนา แต่ศิลปินเลือกที่จะศึกษาด้วยตนเองจากหอสมุดวัด ทำให้ได้รู้ว่ามนุษย์ก็ย่อมเป็นมนุษย์อยู่ จึงยังเป็นอยู่ตามบริบท สภาวะ และอารมณ์ บางคนอาจเลือกที่จะเข้าสู่ชีวิตสงฆ์และมีวัดที่รองรับโดยเฉพาะเพื่อการพัฒนาและสืบสานหลักธรรมคำสอนโดยมีความร่วมสมัยมากยิ่งขึ้น โดยรวมแล้วแม้ว่าศาสนาพุทธของไทยจะให้ความสำคัญกับเพศชายเป็นหลัก แต่ก็มีโอกาสสำหรับความหลากหลายทางเพศภายในพื้นที่ของศาสนา รวมถึงสำหรับผู้หญิงและผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ สำหรับการเป็นสงฆ์ในฐานะบุคคลก็เป็นมนุษย์คนหนึ่งที่ได้เลือกทางของตนสู่หนทางพุทธะ
ผลงานภาพถ่ายชุด The Middle Path นำเสนอภาพที่แฝงด้วยข้อคิดที่ทำให้เห็นจุดตัดของความเปราะบางของมนุษย์และบริบททางความเชื่อ ซึ่งทำหน้าที่เป็นข้อพิสูจน์ของการวิจารณ์ถึงความเป็นจริงของพื้นที่ และเป็นเครื่องพิสูจน์สังคมถึงความเชื่อทางพุทธศาสนาที่มีบริบทร่วมกับการพันธนาการและความหลากหลายทางเพศ เพื่อนำไปสู่บริบทของการวิเคราะห์บทบาทของบุคคลและพื้นที่ในสังคมไทย
Credits The MIDDLE PATH (2023)
Created by Tom Potisit
Phetcharada Pacharee (Unnamedminor) | Shibari Master
Boonchai Srikanok & Vin Laa | Art Directors
Thiti Teeraworawit | Project Manager
Pasitthana Inman | Model
Khemmanat Manmao & Danai Sompong | Photography Specialists
Anan Eiammee | Photographer Assistant
Chotirose Boonyagaukul | Shibari Assistant
Nanthicha Peeramongkolpithak | Prop Master
Pudit Jong-asachat | Prop Master
Chawanchai Orachorn | Costume Consultant
Nopphawan Juntapadawan & Narunan Juntapadawan | Make up
Piy Boonsatitya | Producer
Bas Ekkathat Kaewkert | Set Manager and Behind the Scene
Ing Sujiwan Khemakorn | Digital Manipulation Specialist
Studio | Bangkok Creative Studio
Created by Tom Potisit
Phetcharada Pacharee (Unnamedminor) | Shibari Master
Boonchai Srikanok & Vin Laa | Art Directors
Thiti Teeraworawit | Project Manager
Pasitthana Inman | Model
Khemmanat Manmao & Danai Sompong | Photography Specialists
Anan Eiammee | Photographer Assistant
Chotirose Boonyagaukul | Shibari Assistant
Nanthicha Peeramongkolpithak | Prop Master
Pudit Jong-asachat | Prop Master
Chawanchai Orachorn | Costume Consultant
Nopphawan Juntapadawan & Narunan Juntapadawan | Make up
Piy Boonsatitya | Producer
Bas Ekkathat Kaewkert | Set Manager and Behind the Scene
Ing Sujiwan Khemakorn | Digital Manipulation Specialist
Studio | Bangkok Creative Studio